การทำงานรับค่าจ้างคือการให้บริการแลกกับค่าตอบแทน

คือการให้บริการแก่ผู้อื่นเวลาเราซื้อเครื่องปรับอากาศ ส่วนใหญ่ก็คงติดเองไม่เป็น การทำงานรับค่าจ้าง แต่ถ้าให้ช่างทำให้ เขาย่อมติดตั้งให้เสร็จและสวยงามในเวลาไม่นาน ส่วนเราก็ต้องเอ่ย “ขอบคุณมากครับ” พร้อมจ่ายค่าจ้างเป็นการตอบแทนเวลาไปร้านอาหาร หากได้กินอาหารอร่อยและได้รับบริการที่ดี

เราก็ต้องเอ่ย “ขอบคุณ” ขณะจ่ายค่าอาหาร และอาจคิดอีกว่า “ไว้มาร้านนี้อีกดีกว่า”ขณะเดียวกัน หากสินค้าที่ซื้อไปชำรุดหรือใช้งานไม่ได้ เราย่อมโมโหและร้องเรียนกับผู้ผลิตว่า “คืนเงินของฉันมาเดี๋ยวนี้!” หรือถ้าไปกินอาหารแล้วพบว่าอาหารไม่อร่อย บริการก็แย่ เราก็คงคิดว่า “จะไม่มาร้านนี้อีกแล้ว”สรุปแล้ว

“การรับเงิน” จึงเท่ากับ “การสร้างความสุขให้อีกฝ่าย” นั่นเองดังนั้น คนที่รู้สึกผิดกับการทำงานรับค่าจ้างจึงแปลได้ว่าเขาคนนั้น ไม่อยากเห็นคนอื่นมีความสุข”บางคนอาจพูดว่า “ไม่ใช่อย่างนั้นนะ ถ้าอีกฝ่ายมีความสุข ฉันก็ดีใจ”แสดงว่าเขาลำบากใจที่มีเงินเป็นตัวกลางแต่ลองสมมติว่าเรามีเพื่อนที่ชอบเอาผลไม้

หรือขนมมาให้บ่อยๆคอยช่วยทำความสะอาดบ้าน ดูแลลูกๆ ให้ หรือล้างรถให้ทุกสัปดาห์โดยไม่ต้องการผลตอบแทนใดๆ เราจะรู้สึกอย่างไรในตอนแรกเราอาจรู้สึกขอบคุณและคิดว่า”สบายสุดๆ โชคดีจังเลย”แต่หากเพื่อนช่วยเหลือเช่นนี้ไปอีกหลายเดือนหรือหลายปี เราคงรู้สึกไม่ดีและอาจรู้สึกผิดหรือระแวงว่าอีกฝ่าย

มีแผนอะไรรึเปล่าหากเป็นเช่นนั้น การจ่ายเงินตอบแทนย่อมทำให้เราสบายใจกว่าโดยปกติคนเราจะรู้สึกผิดหรืออึดอัดใจหากมีใครทำอะไรให้โดยไม่รับผลตอบแทนอยู่เรื่อยๆ ดังนั้น การขายสินค้าหรือให้บริการจึงจำเป็นต้องมีเงินเป็นตัวกลางเพื่อสร้างความเสมอภาคต่อกันหากคิดเช่นนี้แล้วใครยังรู้สึกผิดที่จะรับเงิน แสดงว่าคุณต้องการสร้างความอึดอัดใจให้อีกฝ่ายการกำหนดราคาและรับค่าตอบแทนจึงเป็นสิ่งสำคัญที่ขาดไม่ได้เลย

เลิก “ตั้งค่าความสามารถของตัวเองถูกๆ”

ขณะเดียวกัน คนดีมักประเมินความสามารถของตัวเองต่ำเกินไปและคิดว่าสิ่งที่ตัวเองทำนั้นไม่ควรค่ากับผลตอบแทนมากมาย เวลาอีกฝ่ายเรียกเก็บเงินจึงไม่กล้าตั้งราคาสูง และมักตั้งค่าแรงของตัวเองถูกเกินไปแม้รายได้ต่อปีจะน้อย แต่ก็ยอมรับว่าตัวเองมีมาตรฐาน คิดไปว่า“ฉันก็ทำได้แค่นี้แหละ” แล้วพอใจอยู่แค่นั้น หากเราขีดเส้นไว้ตั้งแต่แรกว่าคนอย่างฉันไม่มีทางทำรายได้ถึงปีละพันล้านเยนแน่ ๆ

ย่อมทำให้เรายอมแพ้โดยไม่คิดจะลองทำดูก่อนคนที่จำกัดขีดความสามารถของเราก็คือ “ตัวเราเอง นี่แหละทำให้คำว่า ยิ่งเป็นคนดีก็ยิ่งจน กลายเป็นความจริงที่ไม่อาจเยียวยาได้สมมติว่ามีนักศึกษาชั้นปีที่สามมาปรึกษาคุณก่อนจะส่งใบสมัครงานไปตามบริษัทต่างๆเมื่อได้พูดคุยแล้ว คุณถึงพบว่าเด็กคนนี้เป็นผู้ใหญ่กว่าคุณในสมัยที่อายุเท่ากันเสียอีก

และรู้สึกว่าเขาไม่จำเป็นต้องปรึกษาคุณเลยด้วยซ้ำแต่ถ้าเด็กคนนั้นพูดว่า “ผมไม่ได้เรียนมหาวิทยาลัยชั้นนำ นอยู่แล้วว่าสมัครไปก็ไม่ผ่านอยู่ดี สู้สมัครงานกับบริษัทขนาดกลางไปเลยคุณคงไม่พูดว่า “นั่นสินะ อย่าหวังเลยดีกว่า” จริงไหม เผลอๆ คุณอาจจะแนะนำว่า “ไม่หรอกน่า

ผมว่าคุณมีดีพอจะลองดูสักตั้งนะ” เสียแล้วถ้าอีกฝ่ายยังตอบกลับมาว่า “แต่คนอย่างผมคงไม่ไหวหรอก…” ล่ะจะทำยังไงผมเชื่อว่าทุกท่านจะแนะนำว่า “อย่าจำกัดขีดความสามารถของตัวเองสิวหรือ “อย่ายอมแพ้ตั้งแต่เริ่มต้นแบบนี้สิ” ใช่ไหมล่ะครับมากกว่าในความเป็นจริงแล้ว ทุกคนรู้ดีว่า ตัวเราเองนี่แหละที่มักคอยจำกัดขีดความสามารถของตัวเอง ตัวเราเองนี่แหละที่มักยอมแพ้ความฝัน ตัวเราเองนี่แหละที่มักหักหลังตัวเราในอนาคตผมจึงขอแนะนำคำพูดที่ช่วยให้เราหลุดพ้นจากการประเมินตัวเองต่ำเกินไปดังนี้

“แทนที่จะนั่งรอให้เกิดปาฏิหาริย์ การสร้างปาฏิหาริย์เองนั้นเท่กว่า

“คนกล้าหาญไม่ใช่คนที่ไม่กลัวอะไรเลย แต่คือคนที่กล้าก้าวออกไปเยอะ”แม้กลัวจนขาแข็งก็ตาม”

“คนในสังคมจะประหลาดใจ หากเราทำสำเร็จแม้โดนดูถูกว่า “อย่างนายน่ะไม่มีทางทำได้หรอก”

“วิธีเดียวที่จะเอาคืนคนที่ดูถูกเราได้ คือการทำสิ่งนั้นให้สำเร็จ

 

สนับสนุนโดย.  ufabet ทางเข้าเล่น